คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

กลับไปเว็บไซต์เดิม

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (Food Science and Technology)

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย     :  ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร
ภาษาอังกฤษ  :  Doctor of Philosophy Program in Food Science and Technology

ชื่อปริญญา

ภาษาไทย

ชื่อเต็ม : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร)
ชื่อย่อ  : ปร.ด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร)


ภาษาอังกฤษ

ชื่อเต็ม : Doctor of Philosophy (Food Science and Technology)
ชื่อย่อ  : Ph.D. (Food Science and Technology)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

แบบ 1.1 และ 2.1        48       หน่วยกิต
แบบ 1.2 และ 2.2      72       หน่วยกิต

ปรัชญาการศึกษา

       ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถในการค้นคว้าวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร เพื่อตอบสนองความต้องการขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และนานาชาติ บนพื้นฐานของการมีคุณธรรมและจรรยาบรรณ โดยผ่านกระบวนการการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้ การค้นคว้าด้วยตนเอง ลงมือปฏิบัติ และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ทำงาน

ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร (PLOs)

  • PLO1 สามารถบูรณาการความรู้เพื่อการแก้ปัญหา วางแผนพัฒนาและสร้างสรรค์งานวิจัย หรือนวัตกรรมที่มีประโยชน์ต่อชุมชน และอุตสาหกรรมอาหารได้
  • PLO2 สามารถดำเนินงานวิจัยได้อย่างถูกต้องตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
  • PLO3 สามารถสืบค้น คัดกรองและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนางานวิจัยได้
  • PLO4 สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในวงวิชาการและวิชาชีพ

โครงสร้างหลักสูตร

แผน 1.1*48 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต
วิชาสัมมนา 3 หน่วยกิต
แผน 1.2* 72 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 72 หน่วยกิต
วิชาสัมมนา 3 หน่วยกิต
แผน 2.1*48 หน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก6 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์36 หน่วยกิต
วิชาสัมมนา 3 หน่วยกิต
แผน 2.2*72 หน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ9 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก12 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์48 หน่วยกิต
วิชาสัมมนา 3 หน่วยกิต

* นักศึกษาที่จบไม่ตรงสาขา ต้องลงทะเบียนเรียนในรายวิชา 850-601 พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร และ 850-611 สมบัติเชิงหน้าที่ขององค์ประกอบอาหาร หรือวิชา 850-631 กรรมวิธีแปรรูปอาหารขั้นสูง หรือวิชา 850-541 จุลชีววิทยาอาหารและความปลอดภัยอาหารขั้นสูง (อย่างน้อย 2 รายวิชา) แบบ audit และไม่นับหน่วยกิตรวมในหลักสูตร โดยอยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 

** ลงทะเบียนเรียนแบบไม่นับหน่วยกิต

เกณฑ์การรับเข้า

แบบ 1.1

     1)  สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ขอทำวิทยานิพนธ์ และ

     2)  เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ

     3)  สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 2 เรื่อง

     4)  ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

แบบ 1.2

     1)  สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ขอทำวิทยานิพนธ์ และ

     2)  เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ

     3)  สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 2 เรื่อง

     4)  ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

แบบ 2.1

     1)  ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ขอทำวิทยานิพนธ์ และ

     2)  เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ

     3)  สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 1 เรื่อง

     4)  ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

แบบ 2.2

     1)  ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ขอทำวิทยานิพนธ์ และ

     2)  เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ

     3)  สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 1 เรื่อง

     4)  ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

เกณฑ์สำเร็จการศึกษา

แบบ 1.1

     1)  สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ขอทำวิทยานิพนธ์ และ

     2)  เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ

     3)  สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 2 เรื่อง

     4)  ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

แบบ 1.2

     1)  สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ขอทำวิทยานิพนธ์ และ

     2)  เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ

     3)  สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 2 เรื่อง

     4)  ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

แบบ 2.1

     1)  ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ขอทำวิทยานิพนธ์ และ

     2)  เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ

     3)  สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 1 เรื่อง

     4)  ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

แบบ 2.2

     1)  ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ขอทำวิทยานิพนธ์ และ

     2)  เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ

     3)  สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 1 เรื่อง

     4)  ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)

รายชืืื่อบุคลากร

อาจารย์ประจำหลักสูตร

Asst. Prof. Dr. Thanasak Sae-leaw

ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

Prof. Dr. Soottawat Benjakul

saowakon-2

Asst. Prof. Dr. Saowakon Wattanachant

กรรมการบริหารหลักสูตร

avtar

Asst. Prof. Dr. Avtar Singh

jirakrit

Dr. Jirakrit Saetang

Dr. Jirayu Buatong

สื่อประชาสัมพันธ์

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย     :  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์อาหาร
ภาษาอังกฤษ  :  Master of Science Program in Food Packaging Technology

ชื่อปริญญา

ภาษาไทย

ชื่อเต็ม : Master of Science (Food Packaging Technology)
ชื่อย่อ  : M.Sc. (Food Packaging Technology)


ภาษาอังกฤษ

ชื่อเต็ม : Master of Science (Food Science and Technology)
ชื่อย่อ  : M.Sc. (Food Science and Technology)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

  • 36 หน่วยกิต

ปรัชญาการศึกษา

ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (ELOs) ระดับหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก* 36 หน่วยกิจ
วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิจ

แผนการศึกษา

เกณฑ์สำเร็จการศึกษา

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)

รายชื่อบุคลากร

อาจารย์ประจำหลักสูตร

Asst.Prof.Dr. Thummanoon Prodpran
ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
Asst.Prof.Dr. Ponusa Jitphuthi
Asst.Prof.Dr. Supachai Pisuchpen

กรรมการบริหารหลักสูตร

Assoc.Prof.Dr. Waranyou Sridach                     

Asst.Prof.Dr. Pornsatit Sookchoo

Asst.Prof.Dr. Ladawan Songtipya