Faculty of Agro-Industry PSU

EN | TH

สาขาวิชาการกำหนดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ (นานาชาติ)

FACULTY OF AGRO-INDUSTRY

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย :  วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการกำหนดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Dietetics and Nutrition for Health (International Program)

ชื่อปริญญา

ภาษาไทย
ภาษาไทย ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต (การกำหนดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ)
ชื่อย่อ :วท.บ. (การกำหนดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ)

ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Science (Dietetics and Nutrition for Health)
ชื่อย่อ :  B.Sc. (Dietetics and Nutrition for Health)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

  • ปรแกรมแบบปกติ 138 หน่วยกิต
  • โปรแกรมแบบก้าวหน้า 144 หน่วยกิต

ปรัชญาการศึกษา

       หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการกำหนดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการบูรณาการในศาสตร์ที่หลากหลายและเกี่ยวข้องกับการกำหนดอาหาร โภชนาการและอาหารสุขภาพ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความเข้าใจ ความเชี่ยวชาญในการกำหนดอาหาร การดูแลสุขภาพและบำบัดด้วยโภชนาการ สามารถทำงานในการกำหนดอาหาร สร้างนวัตกรรมเชิงสังคมและเชิงพาณิชย์ เพื่อพัฒนาอาหารสุขภาพสำหรับทุกกลุ่มวัยและอาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ นอกจากนี้หลักสูตรยังมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่สามารถประเมินภาวะโภชนาการ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันและฟื้นฟูสุขภาพประชาชนทั้งระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ด้วยโภชนาการและอาหารสุขภาพ อาหารทางการแพทย์ ตลอดจนสามารถให้คำปรึกษาด้านโภชนาการกับผู้ป่วยที่เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการ โรคเรื้อรัง ผู้ป่วยเฉพาะโรค เช่น โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไต และโรคมะเร็ง เป็นต้น อันจะนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในประเทศและในภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน กระบวนการจัดการศึกษาจึงออกแบบให้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ มีการลงมือปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนเพื่อให้เกิดการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ตระหนัก และสามารถรับผิดชอบต่องาน สังคม สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้และพัฒนาตนได้ตลอดชีพ

ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร (PLOs)

  • PLO1 บูรณาการองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร โภชนาการและการกำหนดอาหารเพื่อกำหนดอาหารตามช่วงวัยและอาหารทางการแพทย์
  • PLO2 ออกแบบกระบวนการเพื่อการผลิตอาหารได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายอาหาร
  • PLO3 ออกแบบและพัฒนาอาหารเฉพาะและอาหารทางการแพทย์เพื่อการต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้
  • PLO4 แสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อหน้าที่และปฏิบัติงานได้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ
  • PLO5 สื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องและตรงประเด็น
  • PLO6 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่อง

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 138/144 หน่วยกิต
โปรแกรมแบบปกติ138 หน่วยกิจ
โปรแกรมแบบก้าวหน้า144 หน่วยกิจ

เกณฑ์สำเร็จการศึกษา

  1. เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว่าด้วยการศึกษาชั้นปริญญาตรีและการศึกษาตลอดชีวิต พ.ศ. 2563 โดยต้องเรียนครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และต้องได้รับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.00 จากระบบ 8 ระดับคะแนน ในระยะเวลาที่กำหนด
  2. ผ่านกิจกรรมตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (100 ชั่วโมง)
  3. มีผลการสอบภาษาอังกฤษที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ระบุในตารางด้านล่าง
Type of TestThe passed score
PSU-test (Reading Part)Not less than 60
TOEICNot less than 420
TOELF (computer-based or equivalent)Not less than 450
IELTSNot less than 5

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)

รายชื่อบุคลากร

อาจารย์ประจำหลักสูตร

preeya.h
ดร. ปรียาภรณ์ เดชอรัญ
ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
ดร. วรพนิต จันทร์สุวรรณ์
Assoc.Prof.Dr. Sunisa Siripongvutikorn
Nualpun
Asst. Prof. Dr. Nualpun Sirinupong
yongyuth
Dr. Yongyuth Theapparat

สื่อประชาสัมพันธ์

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย :  วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการกำหนดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Dietetics and Nutrition for Health (International Program)

ชื่อปริญญา

ภาษาไทย
ภาษาไทย ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต (การกำหนดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ)
ชื่อย่อ :วท.บ. (การกำหนดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ)

ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Science (Dietetics and Nutrition for Health)
ชื่อย่อ :  B.Sc. (Dietetics and Nutrition for Health)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

  • ปรแกรมแบบปกติ 138 หน่วยกิต
  • โปรแกรมแบบก้าวหน้า 144 หน่วยกิต

ปรัชญาการศึกษา

       หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการกำหนดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการบูรณาการในศาสตร์ที่หลากหลายและเกี่ยวข้องกับการกำหนดอาหาร โภชนาการและอาหารสุขภาพ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความเข้าใจ ความเชี่ยวชาญในการกำหนดอาหาร การดูแลสุขภาพและบำบัดด้วยโภชนาการ สามารถทำงานในการกำหนดอาหาร สร้างนวัตกรรมเชิงสังคมและเชิงพาณิชย์ เพื่อพัฒนาอาหารสุขภาพสำหรับทุกกลุ่มวัยและอาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ นอกจากนี้หลักสูตรยังมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่สามารถประเมินภาวะโภชนาการ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภค ป้องกันและฟื้นฟูสุขภาพประชาชนทั้งระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ด้วยโภชนาการและอาหารสุขภาพ อาหารทางการแพทย์ ตลอดจนสามารถให้คำปรึกษาด้านโภชนาการกับผู้ป่วยที่เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการ โรคเรื้อรัง ผู้ป่วยเฉพาะโรค เช่น โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไต และโรคมะเร็ง เป็นต้น อันจะนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในประเทศและในภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน กระบวนการจัดการศึกษาจึงออกแบบให้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ มีการลงมือปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนเพื่อให้เกิดการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ตระหนัก และสามารถรับผิดชอบต่องาน สังคม สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้และพัฒนาตนได้ตลอดชีพ

ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (ELOs) ระดับหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 138/144 หน่วยกิต
โปรแกรมแบบปกติ138 หน่วยกิจ
โปรแกรมแบบก้าวหน้า144 หน่วยกิจ

แผนการศึกษา

เกณฑ์สำเร็จการศึกษา

  1. เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว่าด้วยการศึกษาชั้นปริญญาตรีและการศึกษาตลอดชีวิต พ.ศ. 2563 โดยต้องเรียนครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และต้องได้รับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.00 จากระบบ 8 ระดับคะแนน ในระยะเวลาที่กำหนด
  2. ผ่านกิจกรรมตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (100 ชั่วโมง)
  3. มีผลการสอบภาษาอังกฤษที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ระบุในตารางด้านล่าง

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)

รายชื่อบุคลากร

อาจารย์ประจำหลักสูตร

preeya.h
ดร. ปรียาภรณ์ เดชอรัญ
ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
ดร. วรพนิต จันทร์สุวรรณ์
Assoc.Prof.Dr. Sunisa Siripongvutikorn
Nualpun
Asst. Prof. Dr. Nualpun Sirinupong
yongyuth
Dr. Yongyuth Theapparat